'; ซีดีธรรมะ


เสียงธรรมพุทธทาส แผ่นที่ ๒

หมวดหมู่ ท่านพุทธทาสภิกขุ, โดย admin, วันที่ 26 มิถุนายน 63, อ่าน 523

image


  • 1) 277 นิพพานสำหรับทุกคน
  • 2) 278 วิธีการใช้อานาปานสติให้เป็นประโยชน์แก่กิจการบ้านเรือน
  • 3) 279 การจัดการที่เหตุของสิ่งที่มีเหตุ (อย่าเอาไม้สั้นไปรันขี้)
  • 4) 280 พระพุทธศาสนาทั้งกลม (ทั้งหมดครบถ้วน)
  • 5) 281 อัสมิมานะ ภพ ชาติ เป็นสิ่งที่ต้องรู้จัก
  • 6) 282 ไม่มีอะไรที่ไม่เป็นไปตามกฏอิทัปปัจจยตา
  • 7) 283 มารู้จักพระพุทธศาสนากันให้ยิ่งกว่าที่แล้วมา ข้อที่ ๑-๒๐
  • 8) 284 มารู้จักพระพุทธศาสนากันให้ยิ่งกว่าที่แล้วมา ข้อที่ ๒๑-๔๐
  • 9) 285 มารู้จักพระพุทธศาสนากันให้ยิ่งกว่าที่แล้วมา ข้อที่ ๔๑-๖๐
  • 10) 286 มารู้จักพระพุทธศาสนากันให้ยิ่งกว่าที่แล้วมา ข้อที่ ๖๑-๘๐
  • 11) 287 พระคุณของแม่คือสันติภาพของโลก
  • 12) 288 ชีวิตอันประเสริฐ
  • 13) 289 ชีวิตว่าง
  • 14) 290 ชีวิตกีฬา - ชีวิตที่สนุกเหมือนเล่นกีฬา
  • 15) 291 วิเวกเป็นที่พักผ่อนของวิญญาณอันดิ้นรน
  • 16) 292 ธรรม ๒ ความหมาย ที่ท่านยังไม่รู้จัก - ความถูกต้อง - ความดีงาม
  • 17) 293 ปัจจัยที่ห้า ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 18) 294 วิเวก ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 19) 295 อัตตา ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 20) 296 ความเมตตาอาทร ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 21) 297 ศรัทธา ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 22) 298 โรงเรียน ที่ท่านไม่รู้จัก
  • 23) 299 การให้ทาน ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 24) 300 ขันตี ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 25) 301 ครูของพระพุทธเจ้า ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 26) 302 สุญญตา ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 27) 303 การเลิกอายุ ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 28) 304 ลูกหนี้ขี้ฉ้อ ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 29) 305 ตัวตน ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 30) 306 สิ่งที่ไม่ปฏิกูล ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 31) 307 ความสุขสูงสุดที่แท้จริงบางอย่าง ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 32) 308 เครื่องราง ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 33) 309 การอยู่กับนิพพาน ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 34) 310 ใจความสำคัญของวันมาฆบูชา ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 35) 311 เพศหญิง - เพศชาย ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 36) 312 การสืบพันธุ์และทายาท ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 37) 313 ของมีราคาถูกที่สุด ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 38) 314 ความเนื่องกันเป็นสิ่งเดียวของพระรัตนตรัย ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 39) 315 อนัตตาของท่านเอง ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 40) 316 เหตุแห่งความไม่สำเร็จในการปฏิบัติหรือพัฒนา ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 41) 317 ธรรมะทำไมกัน(ธรรมะที่ช่วยให้หายจากความเป็นแรด)ที่ท่านยังไม่รู้จัก
  • 42) 318 การทำความเข้าใจในพุทธศาสนาให้แจ่มแจ้ง
  • 43) 319 ความมีเสรีภาพในการศึกษาพุทธศาสนา
  • 44) 320 การเกิดขึ้นแห่งกระแสปฏิจจสมุปบาท
  • 45) 321 การควบคุมและการดับลงแห่งกระแสปฏิจจสมุปบาท
  • 46) 322 สรุปปฏิจจสมุปบาทและอริยสัจจ์
  • 47) 323 ข้อความนำเรื่องให้รู้จักอริยสัจจ์
  • 48) 324 ทุกขอริยสัจจ์ (ตอนที่ ๑)
  • 49) 325 ทุกขอริยสัจจ์ (ตอนที่ ๒)
  • 50) 326 ทุกขสมุทัยอริยสัจจ์
  • 51) 327 ทุกขนิโรธอริยสัจจ์
  • 52) 328 ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจจ์
  • 53) 329 สรุปใจความสำคัญเรื่องอริยสัจจ์
  • 54) 330 การทำความเข้าใจให้ถูกต้องจนเกิดกำลังใจในการปฏิบัติ
  • 55) 331 ความเป็นไปได้ของการปฏิบัติอานาปานสติภาวนา
  • 56) 332 ความประเสริฐของพระธรรม(ที่จำเป็นจะต้องทราบ)
  • 57) 333 ปฏิจจสมุปบาท
  • 58) 334 ปฏิจจสมุปบาทและอานาปานสติ
  • 59) 335 ประโยชน์ของการฝึกสมาธิภาวนา
  • 60) 336 ธรรมชาติแห่งความเห็นแก่ตัว
  • 61) 337 อานาปานสติ คือการฝึกสติ
  • 62) 338 การใช้สติให้สำเร็จประโยชน์
  • 63) 339 การอบรมธรรม
  • 64) 340 การอบรมจิต
  • 65) 341 ถาม - ตอบ ปัญหาธรรมะ
  • 66) 342 ธรรมปริทรรศน์สำหรับผู้ปฏิบัติจิตตภาวนา
  • 67) 343 สรุปแนวการปฏิบัติโดยสังเขป
  • 68) 344 ถาม - ตอบ ปัญหาธรรมะ
  • 69) 345 เรื่องของชีวิต คือเรื่องปฏิจจสมุปบาท
  • 70) 346 แนวการปฏิบัติอานาปานสติ
  • 71) 347 ธรรมะที่ควบคุมกระแสปฏิจจสมุปบาท
  • 72) 348 ก ข ก กา แห่งความดับทุกข์ภาคที่ ๑
  • 73) 349 ก ข ก กา แห่งความดับทุกข์ภาคที่ ๒
  • 74) 350 ถาม - ตอบ ปัญหาธรรมะ
  • 75) 351 ธรรมปริทรรศน์ตอนที่ ๑-ธรรมทำไมกัน
  • 76) 352 ธรรมปริทรรศน์ตอนที่ ๒-ธรรมอย่างไรกัน
  • 77) 353 ธรรมปริทรรศน์ตอนที่ ๓-ธรรมให้อะไรกัน
  • 78) 354 จุดตั้งต้นที่ถูกต้องในการศึกษาปฏิบัติธรรม
  • 79) 355 เหตุผลในการปฏิบัติธรรม
  • 80) 356 ความเหมาะสมในการปฏิบัติธรรม
  • 81) 357 ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรม
  • 82) 358 พรหมจรรย์และอาทิพรหมจรรย์
  • 83) 359 พรหมจริยปริโยสาน-จุดจบแห่งพรหมจรรย์
  • 84) 360 ปรมัตถสภาวธรรมสำหรับดำเนินชีวิต
  • 85) 361 ความลึกซึ้งบางอย่างของชีวิต
  • 86) 362 สภาวธรรมที่เรียกว่าขันธ์ห้า
  • 87) 363 คุณค่าของการมีชีวิตอยู่ด้วยปรมัตถธรรม
  • 88) 364 คุณของพระธรรม
  • 89) 365 การดำเนินชีวิตด้วยธรรมะของคนในมัชฌิมวัย
  • 90) 366 การดำเนินชีวิตด้วยปัญญาของคนในมัชฌิมวัย
  • 91) 367 การดำเนินชีวิตของคนในปฐมวัย
  • 92) 368 พระพุทธองค์ยังทรงรอเราอยู่
  • 93) 369 สุดยอดความถูกต้องคือ นิพพาน
  • 94) 370 นิพพานอย่างพระพุทธเจ้า (โดยสังเขป)
  • 95) 371 ธรรมะกับคนเรา
  • 96) 372 ขันธ์ห้า
  • 97) 373 อารมณ์ทั้งหลายเป็นเพียงมโนภาพของจิต
  • 98) 374 ชีวิตที่มีพื้นฐาน, สิ่งที่จะเป็นพื้นฐานของชีวิต
  • 99) 375 การควบคุมกระแสแห่งชีวิต
  • 100) 376 เรื่องสุดท้ายของการประพฤติพรหมจรรย์
  • 101) 377 แผนการของชีวิต
  • 102) 378 จุดมุ่งหมายของชีวิต (ความไม่เห็นแก่ตัว)
  • 103) 379 สัจจะของชีวิต (ความไม่ใช่ตัว)
  • 104) 380 การพัฒนาชีวิตแบบชาวพุทธ
  • 105) 381 ประมวลแห่งพรหมจรรย์
  • 106) 382 ฉันทมูลกา
  • 107) 383 มนสิการสัมภวา
  • 108) 384 ผัสสสมุทยา
  • 109) 385 ก ข ระดับศีลธรรม
  • 110) 386 ทำไมจึงปฏิบัติวิปัสสนาไม่สำเร็จ
  • 111) 387 สถาบันของพระพุทธเจ้า
  • 112) 388 สิ่งแรกที่ต้องรู้จักนั้นคือความทุกข์
  • 113) 389 การหมดความเห็นแก่ตัวคือหมดทุกข์
  • 114) 390 ชีวิตคือขันธ์ทั้งห้ามิใช่ตัวตน
  • 115) 391 คู่มือการปฏิบัติอานาปานสติอย่างสมบูรณ์ ตอนที่ ๑ กายานุปัสสนา
  • 116) 392 คู่มือการปฏิบัติอานาปานสติอย่างสมบูรณ์ ตอนที่ ๒ เวทนานุปัสสนา
  • 117) 393 คู่มือการปฏิบัติอานาปานสติอย่างสมบูรณ์ ตอนที่ ๓ จิตตานุปัสสนา
  • 118) 394 คู่มือการปฏิบัติอานาปานสติอย่างสมบูรณ์ ตอนที่ ๔ ธัมมานุปัสสนา
  • 119) 395 ข้อความเบื้องต้นของคู่มือพุทธศาสนา - ตอนที่ ๑
  • 120) 396 ข้อความเบื้องต้นของคู่มือพุทธศาสนา - ตอนที่ ๒
  • 121) 397 ข้อความเบื้องต้นของคู่มือพุทธศาสนา - ตอนที่ ๓
  • 122) 398 ข้อความเบื้องต้นของคู่มือพุทธศาสนา - ตอนที่ ๔
  • 123) 399 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา - ตอนที่ ๑
  • 124) 400 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา - ตอนที่ ๒
  • 125) 401 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา - ตอนที่ ๓
  • 126) 402 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา - ตอนที่ ๔
  • 127) 403 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา - ตอนที่ ๕
  • 128) 404 คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา - ตอนที่ ๖
  • 129) 405 คู่มือศึกษาการปฏิบัติในพุทธศาสนา - ตอนที่ ๑
  • 130) 406 คู่มือศึกษาการปฏิบัติในพุทธศาสนา - ตอนที่ ๒
  • 131) 407 คู่มือศึกษาในส่วนปฏิเวธ
  • 132) 408 ชีวิตคือการลงทุนเพื่อผลอันสูงสุด
  • 133) 409 ธรรมชาติแห่งชีวิต
  • 134) 410 ธรรมชาติแห่งชีวิตคือกระแสแห่งการพัฒนา
  • 135) 411 การขาดทุนกำไรในชีวิตที่มีตามธรรมชาติ
  • 136) 412 ชีวิตที่ไม่เสียชาติเกิด
  • 137) 413 อุตสาหกรรมสัมมัตตา
  • 138) 414 ปัจจัยสำคัญแห่งชีวิตโวหาร
  • 139) 415 ธรรมะพัฒนาคนจากปุถุชนมาเป็นพระอริยเจ้า
  • 140) 416 การพัฒนาชีวิตด้วยพระไตรลักษณ์ 1
  • 141) 417 ชีวิตเป็นสิ่งที่ต้องพัฒนาด้วยการมีธรรมะ
  • 142) 418 การพัฒนาชีวิตด้วยพระไตรลักษณ์ 2
  • 143) 419 การพัฒนาชีวิตโดยพระไตรลักษณ์ 3
  • 144) 420 ปริโยสานแห่งชีวิตโวหาร
  • 145) 421 สังคมธรรมะชีวีเพื่อประโยชน์อะไร
  • 146) 422 ความหมายของคำว่า ธรรม ในคำว่า ธรรมะชีวี
  • 147) 423 ความหมายของคำว่า ธรรมะชีวี
  • 148) 424 ธรรมะชีวีในระดับสูงสุด
  • 149) 425 ธรรมะชีวีกับปัญหาเรื่อง กิน กาม เกียรติ
  • 150) 426 ธรรมะชีวีกับความเป็นฆราวาส
  • 151) 427 ธรรมะชีวีกับชีวิตแห่งอาศรมทั้งสี่
  • 152) 428 ธรรมะชีวีกับครูผู้สร้างโลก
  • 153) 429 การดำรงชีวิตอย่างครูนั่นแหละคือ ธรรมะชีวีชั้นครู
  • 154) 430 ยุวชนที่พึงประสงค์คือยุวชนธรรมะชีวี
  • 155) 431 ประมวลเรื่องธรรมะชีวี
  • 156) 432 สัญชาตญาณกับธรรมชาติแห่งความเป็นมนุษย์
  • 157) 433 โครงสร้างของสัญชาตญาณ
  • 158) 434 โครงสร้างของสัญชาตญาณ (ต่อ)
  • 159) 435 สัญชาตญาณกับกิเลส
  • 160) 436 สัญชาตญาณกับกิเลส (ต่อ)
  • 161) 437 สัญชาตญาณกับโพธิ
  • 162) 438 การพัฒนาสัญชาตญาณ
  • 163) 439 การพัฒนาสัญชาตญาณโดย อานาปานสติ
  • 164) 440 การพัฒนาสัญชาตญาณโดย อุปการธรรม
  • 165) 441 การใช้สัญชาตญาณที่พัฒนาแล้วในการทำประโยชน์
  • 166) 442 การดำรงชีวิตชนิดที่เป็นการควบคุมสัญชาตญาณอยู่ในตัว
  • 167) 443 การปฏิบัติที่เพิกถอนสัญชาตญาณโดยหลักวิชา
  • 168) 444 ภาวะจิตเมื่ออยู่เหนือสัญชาตญาณโดยประการทั้งปวง
  • 169) 445 ธรรมะคำเดียว
  • 170) 446 มรรค
  • 171) 447 ธรรมชาติ
  • 172) 448 ความว่าง
  • 173) 449 ข้อควรทราบทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับชีวิต
  • 174) 450 ชีวิตขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อม
  • 175) 451 คุกของชีวิตกับสิ่งที่หล่อเลี้ยงชีวิต
  • 176) 452 กระแสแห่งชีวิตเป็นสิ่งที่ต้องรู้จัก
  • 177) 453 การพัฒนาสัญชาตญาณแห่งชีวิต
  • 178) 454 เราจะได้อะไรจากการพัฒนาชีวิต
  • 179) 455 ชีวิตพื้นฐานกับชีวิตสุดยอด
  • 180) 456 ชีวิตเย็น
  • 181) 457 ชีวิตสังขตะและชีวิตอสังขตะ
  • 182) 458 สรุปสัจจะเกี่ยวกับชีวิต
  • 183) 459 สิ่งที่เรียกว่าชีวิต
  • 184) 460 ธรรมชาติพื้นฐานของความเป็นมนุษย์
  • 185) 461 ปัญหาพื้นฐานของความเป็นมนุษย์
  • 186) 462 การดำรงชีวิตที่ถูกต้องตามธรรมชาติพื้นฐาน
  • 187) 463 จิตตภาวนาทุกรูปแบบโดยหลักพื้นฐาน
  • 188) 464 ตัวตนและมิใช่ตัวตนโดยหลักพื้นฐาน
  • 189) 465 สันติสุขส่วนบุคคลและสันติภาพ ของสังคม โดยหลักพื้นฐาน
  • 190) 466 ตรงไปยังหัวใจของธรรมะโดยหลักพื้นฐาน
  • 191) 467 การออกมาเสียจากอำนาจวัตถุนิยมโดยหลักพื้นฐาน
  • 192) 468 การทำความเข้าใจระหว่างศาสนาโดยหลักพื้นฐาน
  • 193) 469 การมีธรรมในชีวิตประจำวันโดยหลักพื้นฐาน
  • 194) 470 การช่วยผู้อื่นให้มีธรรมโดยหลักพื้นฐาน
  • 195) 471 หลักเกณฑ์ทั่วไปของวิทยาศาสตร์
  • 196) 472 ธรรมะมีความเป็นวิทยาศาสตร์ ทุกรูปแบบ
  • 197) 473 ธรรมะไม่มีอะไรเป็นความลึกลับ
  • 198) 474 โครงสร้างแห่งสิ่งที่เรียกว่าชีวิต
  • 199) 475 สิ่งลึกลับต้องทำให้เป็นสิ่งลึกซึ้ง
  • 200) 476 ความลับของอายตนะเป็นสิ่งที่ต้องเปิดเผย
  • 201) 477 ความลับของอายตนะเป็นสิ่งที่ต้องเปิดเผย (ต่อ)
  • 202) 478 เบญจขันธ์เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องรู้จัก 1
  • 203) 479 เบญจขันธ์เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องรู้จัก 2
  • 204) 480 เบญจขันธ์เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องรู้จัก 3
  • 205) 481 หลักที่เป็นกฎของธรรมชาติเกี่ยวกับขันธ์ทั้งห้า
  • 206) 482 การเกิดแห่งอุปาทานขันธ์
  • 207) 483 ขันธ์ ๕ ในฐานะเป็นโครงสร้างที่จำเป็นของชีวิตตามธรรมชาติ
  • 208) 484 ภาวะธรรมดาแห่งชีวิตมนุษย์
  • 209) 485 จิตตภาวนาคือชีวิตพัฒนา
  • 210) 486 ผลของจิตตภาวนา คือ มรรค ผล นิพพาน
  • 211) 487 ผลของจิตตภาวนา คือ มรรค ผล นิพพาน (ต่อ)
  • 212) 488 จิตตภาวนาในแง่ของไสยศาสตร์
  • 213) 489 แนวสังเขปทั่ว ๆ ไปของการพัฒนา
  • 214) 490 มองดูปริทัศน์แห่งชีวิตในทุกแง่ทุกมุม
  • 215) 491 พฤกษาแห่งชีวิตชนิดสมบูรณ์แบบ
  • 216) 492 อะไร ๆ ในชีวิตสักแต่ว่าเป็นเรื่องของจิตสิ่งเดียว
  • 217) 493 อะไร ๆ ก็เป็นสักแต่ว่าธาตุ
  • 218) 494 สังขารและวิสังขาร
  • 219) 495 สรุปความธรรมะเล่มน้อย
  • 220) 496 หลุดพ้นเสียจากความหลุดพ้น
  • 221) 497 ความสุขแท้เมื่อสิ้นสุดแห่งความสุข
  • 222) 498 บุญแท้เมื่อหมดความรู้สึกอยากมีบุญ
  • 223) 499 ธรรมะสูงสุดเมื่อไม่ยึดถือธรรมะ
  • 224) 500 ภาวะสูงสุดคือภาวะไม่ยึดอะไรเป็นตัวตน
  • 225) 501 รู้จักตนต่อเมื่อเห็นความไม่มีตน
  • 226) 502 ช่องที่ไม่มีรู ประตูที่ไม่มีช่อง
  • 227) 503 กู ซึ่งไม่มีตัวมีตน
  • 228) 504 การหลุดพ้นที่แท้จริงไม่มีตัวผู้หลุดพ้น
  • 229) 505 ทุกอย่างเป็นเพียงความรู้สึกของจิต
  • 230) 506 ถ้าจิตไม่เกิดตัวกู ปัญหาก็ไม่มี
  • 231) 507 ความรู้และความรู้สึกที่ตรงกันข้ามจากของเรา

ดาวน์โหลดทั้งหมด *

* การกด "ดาวน์โหลดทั้งหมด" จะได้ไฟล์ที่มีการบีบอัด (zip file) มา 1 ไฟล์
แนะนำให้ใช้คอมพิวเตอร์ในการโหลด แลัวแตก zip file ออกมาเป็นไฟล์ MP3



สื่อธรรมะอื่นๆ




© 2020, All Rights Reserved